(แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง)
การพรรณนาฉากหรือเหตุการณ์ต่อจากนี้
บทความที่อยู่ในหมวดหมู่บทความธุรกิจบทความนี้ มีผู้ชมเข้าชมอย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นว่าเราทำสินค้าและผลิตภัณฑ์ออกใหม่กันมากมาย หลายคนอยากมีแบรนด์ มีสินค้าเป็นของตัวเอง บทความนี้จึงมีผู้คนให้ความสนใจกันมาก เร็วนี้คงจะเขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างจริงจังอีกครั้ง
การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง — สิ่งต่าง ๆ สองสิ่งหรือมากกว่านั้นถูกพิจารณาเคียงข้างกันเพื่อให้เห็นความคล้ายหรือความต่าง
ใส่ส่วนเพิ่มเติม. เราช่วยผู้อ่านให้เข้าใจหัวข้อชัดเจนขึ้นได้ด้วยการใส่ภาพหรือส่วนเพิ่มเติมอื่นๆ ลงในบทความ ตัวอย่างเช่น เราอาจเพิ่มรูปถ่าย แผนภูมิ หรืออินโฟกราฟิกเพื่อแสดงให้เห็นประเด็นของเราบางประเด็น
เราอยากรักษาสุขภาพ… แต่เลือกไปคาเฟ่มากกว่าไปออกกำลังกาย
เรื่องที่ครูผู้สอนควรเฝ้าสังเกตนักเรียนเมื่อกลับมาเรียนตามปกติ
โลกที่หมุนไป เราต้องอยู่ได้บนแรงโน้มถ่วง
“ไม่มีคำว่าสายเกินไป” เป็นแค่ประโยคปลอบใจตัวเอง
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา)
เติมน้ำที่เกินครึ่งแก้ว (ต้นทุนเวลา)
ศึกษาหัวข้อและประเด็นที่มีการถกเถียงกันอยู่. เริ่มค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่จะเขียนและประเด็นที่มีการถกเถียงกันในหัวข้อนั้น ขั้นตอนนี้จะไปไกลกว่าการค้นคว้าก่อนเขียน ศึกษาประเด็นสำคัญทุกอย่าง ข้อดีและข้อเสีย คำกล่าวจากผู้เชี่ยวชาญ และอื่นๆ นักเขียนที่ดีต้องรัก “การค้นคว้า” ค้นคว้าทั้งเอกสารปฐมภูมิ (ต้นฉบับ ไม่ได้รับการเผยแพร่) และเอกสารทุติยภูมิที่เกี่ยวกับหัวข้อนั้น
เมื่อเขียนบทความ เริ่มประโยคที่ทำให้ผู้อ่านติดตามอ่านอย่าง “ต่อเนื่อง” ทุกย่อหน้า ประโยคควรมีความสั้นยาวที่หลากหลาย ถ้าทุกประโยคมีความยาวเท่ากันหมด จะทำให้ผู้อ่านเริ่ม “จับ” จังหวะการเขียนของเราได้และเผลอหลับ แต่ถ้าประโยคไม่ต่อเนื่องกันเลยและสั้น บทความ ผู้อ่านก็อาจจะคิดว่าเรากำลังเขียนโฆษณามากกว่าเขียนบทความที่ได้รับการเรียบเรียงความคิดมาอย่างดี
"การยอมรับ - ทำไมต้องรับ" กับผลลัพธ์ที่แตกต่าง